ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มกราคม, 2019

อิทธิพลของอารยธรรมอินเดียที่มีผลต่อวัฒนธรรมไทย

อิทธิพลของอารยธรรมอินเดีย ที่มีผลต่อวัฒนธรรมไทย 1.ด้านศาสนา ดินแดนไทยได้รับศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู และพระพุทธศาสนามาตั้งแต่สมัยโบราณ เช่น ทวารดี ในสมัยสุโขทัยรับพระพุทธศาสนาจากนครศรีธรรมราช ทำให้พระพุทธศาสนาเป็นส่วนสำคัญในวิถีชีวิตของคนไทย 2. ด้านการเมืองการปกครอง   รับความเชื่อเรื่องสมมติเทพและกฎหมายพระมนูธรรมศาสตร์ของอินเดียมาเป็นแม่แบบของกฎหมาย  ในอดีตประเทศไทยมีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก การรับศาสนาพราหมณ์ทำให้มีความเชื่อเรื่องกษัตริย์เป็นสมมติเทพตามแนวความเชื่อของอินเดีย ต่อมาได้นำหลักธรรมในพระพุทธศาสนามาผสมผสานเพื่อใช้ในการปกครอง พระมหากษัตริย์จึงเป็นธรรมราชาในเวลาต่อมา 3. ด้านอักษรศาสตร์   ประเทศไทยรับภาษาบาลี สันสฤตจากอินเดียมาใช้ ทำให้ประเทศประเทศไทย มีภาษาที่มีคำในภาษาบาลี สันสฤต ผสมอยู่มากมาย เช่น ชื่อของคนในประเทศไทย รับวรรณคดีอินเดีย เช่น มหากาพย์รามายณะ ซึ่งมีอิทธิพลต่อวรรณคดีของไทย รวมถึงวรรณคดีทางพระพุทธศาสนา เช่น ชาดก 4.ด้านวิถีชีวิต   คนไทยได้รับวัฒนธรรมการแต่งกายและวัฒนธรรมการกินอาหารจากอารยธรรมอินเดีย เช่น รับปร

แนะแนว

จิตแพทย์ ลักษณะของงาน      1. ตรวจร่างกาย วินิจฉัย สั่งยา รักษาอาการผิดปกติของผู้ป่วย หรือโดยการใช้เครื่องมือทดสอบที่เป็นมาตรฐาน ร่วมกับการสังเกตพฤติกรรม การสัมภาษณ์วิเคราะห์และแปรผลการทดสอบ     2. สั่งตรวจทางเอกซเรย์หรือการทดสอบพิเศษ ถ้าต้องการรายละเอียดเพิ่มเติม     3. พิจารณาผลการตรวจและผลการทดสอบ วินิจฉัยความผิดปกติปรึกษาแพทย์เฉพาะทางหรือแพทย์อื่น ตามความจำเป็น     4. บำบัดรักษาอาการความผิดปกติทางจิต โดยให้คำแนะนำ ให้คำปรึกษา หรือการรักษาอย่างอื่น เช่น การรับประทานยา และแนะนำผู้ป่วยและญาติในเรื่องการปฏิบัติตนที่จำเป็นการบำบัดสำหรับรักษา     5. เก็บรักษาบันทึกเกี่ยวกับผู้ป่วย และการรักษาพร้อมติดตามผล     6. อาจประสานงานกับแพทย์ในโรงพยาบาลหรือสถาบันอื่น ๆ คุณสมบัติของผู้ที่เหมาะสมกับอาชีพ       1. สำเร็จการศึกษาทางวิชาจิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์     2. มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่พิการหรือทุพพลภาพ ปราศจากโรคร้ายแรง     3. มีความเข้าใจ อดทน อดกลั้น ที่จะยอมรับฟังปัญหาหรืออาการของผู้ป่วยที่อาจผิดปกติทางด้านจิตใจในลักษณะสาเหตุและอาการที่แตกต่างกัน     4. มีความซื่อสัตย์